ค้นหา

Tags

ปัญหาสีทาอาคาร (31)สีทาภายใน (27)เบเยอร์คูล (20)กิจกรรม (19) สีทาบ้านภายนอก (18)สิ่งแวดล้อม (13)ปัญหาบ้านหน้าฝน (11)รักษ์โลก (11)ไอเดียสี (11)begercool (10)สีทาเหล็ก (10)sustainability (9)โปรโมชั่น (9)ทาสีบ้าน (8)ทาสีบ้านใหม่ (8)ปัญหาสีซ่อมแซมตกแต่งพื้นผิว (8)รีโนเวทบ้านเก่า (8)สีทาบ้าน (8)ไอเดียแต่งบ้าน (8)สีงานไม้ (7)สีรองพื้น (7)โลกร้อน (7)ซ่อมบ้าน (6)ปัญหาสีงานไม้ (6)สีทาภายนอก (6)สีทาไม้ (6)สีย้อมไม้ (6)color trends (5)คาร์บอน (5)สีคาร์บอนต่ำ (5)สีทาหลังคา (5)สีบ้านเย็น (5)สีห้องนอน (5)อุดโป๊ว (5)เฉดสียอดนิยม (5)เชื้อรา (5)กันซึม (4)กันรั่ว (4)น้ำท่วม (4)สีทากันซึม (4)สีทาบ้านภายนอก (4)สีทาบ้านภายใน (4)สีน้ำมัน (4)สีรักษ์โลก (4)สีเบเยอร์ (4)หลังคา (4)ห้องครัว (4)ฮวงจุ้ย (4)ไอเดียแต่งห้อง (4) สีทาภายใน (3)AeroTech (3)BegerReWithYou (3)ความชื้น (3)ดูดวง (3)ตะไคร่น้ำ (3)ทาสีบ้านตามฮวงจุ้ย (3)ทาสีบ้านภายใน (3)ทาสีหน้าฝน (3)ผนังปูน (3)ยูรีเทน 2K (3)ยูรีเทนทาไม้ (3)รอยแตกร้าว (3)ฤกษ์มงคล (3)สีทากันซึมดาดฟ้าหลังคา (3)สีบ้านมงคล (3)สีสร้างลาย (3)สีห้องนั่งเล่น (3)สีอุตสาหกรรม (3)สีเหลือง (3)อาคารเขียว (3)เคมีภัณฑ์ก่อสร้าง (3)เฉดสีทาภายใน (3)Begerpaint (2)begerxppg (2)beyours (2)ceramic cooling (2)color of the year (2)griptech2in1 (2)nordic (2)tile-bond (2)work from home (2)กาวยาแนวกระเบื้อง (2)คราบสนิม (2)งานสถาปนิก (2)ซีลแลนท์ (2)ตรุษจีน (2)ทาสีบ้านเอง (2)ทาสีห้องนอน (2)บ้านลอฟท์ (2)บ้านสไตล์นอร์ดิก (2)ปลวก (2)ปัญหาคราบน้ำ (2)ผลิตภัณฑ์กำจักปลวก (2)ฟิลม์สีลอกล่อน (2)ร้านขายสีออนไลน์ (2)รีวิว (2)ลดหย่อนภาษี (2)สัญลักษณ์รักษ์โลก (2)สีทาเหล็ก 2 in 1 (2)สีทาเหล็กตระกูลเบเยอร์ (2)สีน้ำมันเคลือบเงาเหล็ก (2)สีนำโชค (2)สีผสม (2)สีมงคล (2)สีรองพื้นปูนเก่า (2)สีลอฟท์ (2)สีส้ม (2)สีห้องนอนตามวันเกิด (2)สีเย็น (2)สีแดง (2)อุดรอยรั่วทั่วทั้งบ้าน (2)เซรามิกคูลลิ่ง (2)เทรนด์สี 2022 (2)แต่งห้องนอน (2)แอโรเทค (2)โรคหน้าฝน (2) สีทาไม้ (1) เชื้อรา (1)2in1 (1)60-30-10 (1)activity (1)art effect (1)bangkok design week (1)Bangpo wood street (1)Beger AI (1)beger plug-in color library (1)Beger Polyurethane 2K (1)beger-hdc (1)begerclub (1)begercoin (1)carbon (1)carbonfootprint (1)color design (1)color trends 2022 (1)easy e-receipt (1)EPD (1)facebook (1)Gold Ion (1)Green Building (1)Heat index (1)lgbtq (1)Low VOC (1)Natural (1)ozone (1)pride month (1)renovate (1)review (1)sealant (1)super gold (1)super pearl (1)super white (1)VOCs (1)y2k (1)กลิ่นอับ (1)กันซึมดาดฟ้า (1)กันร้อน (1)การนอนหลับ (1)กาวซีเมนต์ (1)กาวพียู (1)กาวยาแนว (1)กำจัดปลวก (1)กิจกรรมวันแม่ (1)คราบสนิมบนพื้นผิวโลหะ (1)คราบเกลือ (1)ความหมายสี (1)คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (1)คำนวณงบสีทาบ (1)คำนวนสีทาบ้าน (1)งบทาสีบ้าน (1)งานสถาปนิก66 (1)งานไม้แนวตั้ง (1)จิตใจ (1)จีน (1)ด่างปูน (1)ดาดฟ้ารั่ว (1)ดาวน์โหลดสีเบเยอร์ (1)ทาสีบ้านภายนอก (1)ทาสีฝ้า (1)ทาสีเหล็ก (1)ทาสีโครงหลังคา (1)ทาห้องสีชมพู (1)ทินเนอร์ (1)ธงสีรุ้ง (1)ธาตุเกิด (1)ธาตุไฟ (1)นวัตกรรมสีทาบ้าน (1)นอนไม่หลับ (1)นอร์ดิก (1)นัว (1)น้ำปูนลอยหน้า (1)บางโพ (1)บ้านสีขาว (1)บ้านสีควันบุหรี่ (1)บ้านสีดำ (1)บ้านอับชื้น (1)บาร์บี้ (1)ป้องกันคราบสนิม (1)ปัญหา (1)ปัญหางานไม้ (1)ปัญหาบ้านฝนตก (1)ปัญหาสีทองคำ (1)ปัญหาสีหน้าฝน (1)ปีชง (1)ปูนกาวเบเยอร์ (1)ผนังไม้ (1)ผิวปูนแห้ง (1)ผู้นำสีทาบ้าน (1)ฝาท่อเยาวราช (1)พลังสี (1)พาสเทล (1)พื้นเหนียว (1)พื้นไม้รอบสระน้ำ (1)ฟิล์มสีติดกัน (1)ฟิล์มสีบวมพอง (1)ฟิล์มสีเป็นเม็ด (1)ฟิล์มสีไม่ยึดเกาะ (1)ฟิล์มแตกเร็ว (1)ภาษีคาร์บอน (1)มูจิ (1)มูเตลู (1)ยางไม้ซึม (1)ยาแนว (1)ยูนีเทน (1)ยูนีเทน 2K (1)ยูรีเทน 1K (1)รหัสสีเบเยอร์ (1)รองพื้นกันสนิม (1)ร้อนอบอ้าว (1)รอยแตก (1)รอยแตกร้าวเพดาน (1)ระบบกันซึมบ้าน (1)รักษโลก (1)รักโลก (1)รับเหมาทาสี (1)รั้วเหล็ก (1)รางวัล (1)ร้านขายสีรองพื้นกันสนิม ใกล้ฉัน (1)รูตะปู (1)วอลเปเปอร์ (1)วันสืบนาคะเสถียร (1)วาเลนไทน์ (1)วิธีซ่อมผิวปูนหลุด (1)วิธีดูแลบ้านหน้าฝน (1)วิธีแก้กลิ่นอับ (1)สดใส (1)สายมู (1)สี 2 in 1 (1)สีmbti (1)สีกันซึม (1)สีขายดี (1)สีขาวควันบุหรี่ (1)สีคุณภาพ (1)สีตกแต่งพิเศษ (1)สีต่าง (1)สีถูกโฉลก (1)สีทองคำ (1)สีทองคำด (1)สีทองคำลอกล่อน (1)สีทาบ้านกันร้อน (1)สีทาบ้านที่ขาวที่สุด (1)สีทาบ้านหมดอายุ (1)สีทาภายนอกสะท้อนความร้อน (1)สีทาหลังคากันร้อน (1)สีทาหลังคาอเนกประสงค์ (1)สีทาอาคาร (1)สีทาเคลือบพื้นไม้ (1)สีทาโครงหลังคา (1)สีทาไฟเบอร์ซีเมนต์ (1)สีทาไม้สีขาว (1)สีทาไม้เทียม (1)สีธรรมชาติ (1)สีน้ำเงิน (1)สีบ้านถูกโฉลก (1)สีบ้านสไตล์นอร์ดิก (1)สีบ้านโทนเย็น (1)สีฝุ่นชอล์ก (1)สีพาสเทล (1)สีฟ้า (1)สียอดนิยม (1)สีรองพื้นกันสนิม Beger (1)สีรองพื้นปูนอเนกประสงค์ (1)สีรองพื้นปูนใหม่ (1)สีลอกล่อน (1)สีวันแม่ (1)สีสงกรานต์ (1)สีสด (1)สีสร้างสมาธิ (1)สีสำหรับ BIM (1)สีสำหรับ Revit (1)สีหมดอายุ (1)สีห้อง (1)สีห้องนอนโทนร้อน (1)สีห้องนอนโทนเย็น (1)สีห้องยอดนิยม (1)สีห้องวัยรุ่น (1)สีห้องเด็ก (1)สีห้องโทนเย็น (1)สีเข้ม (1)สีเคลือบเงาเหล็ก (1)สีเคลือบไม้ยูรีเทน (1)สีเบส (1)สีเบอร์ (1)สีเบเยอร์คูล (1)สีเป็นผง (1)สีเป็นฝุ่น (1)สีแห่งปี (1)สีโทนเย็น (1)สีโป๊ว (1)สเปรย์น้ำมันอเนกประสงค์ (1)สเปรย์หล่อลื่น (1)หน้าฝน (1)หลับยาก (1)หวานๆ (1)ห้องกว้าง (1)ห้องทำงาน (1)ห้องนอน (1)ห้องนอนลอฟท์ (1)ห้องนั่งเล่น (1)ห้องสีขาว (1)ห้องสีควันบุหรี่ (1)ห้องสีชมพู (1)ห้องสีชมพูพาสเทล (1)ห้องสีแดง (1)ห้องใต้หลังคา (1)หินอ่อน (1)อารมณ์ (1)อีซี่คลีนแอนด์แคร์ (1)ฮาโลวีน (1)เจอคูลบอกที (1)เชื้อราบนไม้ (1)เต่าคูล (1)เทคนิคทาสี (1)เบเยอร์ ซูพรีม (1)เบเยอร์ วัน (1)เบเยอร์ชิลด์ (1)เฟอร์ไม้ฉ่ำรับสงกรานต์ (1)เย็นจริงทนจังในถังเดียว (1)เย็นเถิดชาวไทย (1)เย็นเถิดชาวไทยใช้สีเบเยอร์คูล (1)เหนียว (1)เหม็นอับ (1)เหล็กกัลวาไนซ์ (1)แก้ชง (1)แก้ปัญหาน้ำรั่วซึม (1)แต่งห้อง (1)แต่งห้องนั่งเล่น (1)แถม (1)แม่และเด็ก (1)แลคเกอร์ (1)แสง (1)โกลด์ ไอออน (1)โควิด (1)โชคลาภ (1)โถงทางเดิน (1)โทนเย็น (1)โปรแกรมคำนวณคาร์บอน (1)โปรโมชั่นสีทาบ้าน (1)โลกเดือด (1)โหราศาสตร์ (1)โอ๊ต ปราโมทย์ (1)โอโซน (1)ไทล์บอนด์ (1)ไม้สน (1)ไม้เนื้ออ่อน (1)

เช็ก 4 รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว ซ่อมได้ไหม แบบไหนอันตราย

ความเสียหายเป็นของคู่กันกับแผ่นดินไหว ยิ่งแผ่นดินไหวรุนแรงก็ยิ่งสร้างความเสียหายได้มากขึ้น หนึ่งในสัญญาณความเสียหายนั้นคือ รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว ที่ปรากฏขึ้นตามผนังหรือโครงสร้างตึก อาคาร และบ้านเรือนของเรา รอยแตกร้าวนั้นอันตรายหรือไม่ แล้วซ่อมได้ไหม เราหาคำตอบมาให้แล้ว

 

รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว สัญญาณอาคารไม่แข็งแรงจริงหรือ?  

หลายคนอาจสงสัยว่า ทำไมตึกสร้างใหม่แท้ ๆ กลับมีรอยร้าวเกิดขึ้นได้ ผิดกับตึกเก่าหรือตึกที่สร้างมานานแล้วกลับไม่มีรอยแตกร้าวให้เห็น นี่หมายความว่า ตึกสร้างใหม่ไม่แข็งแรง สร้างมาไม่ได้มาตรฐานหรือไม่?

ก่อนอื่นเราต้องพูดถึง มาตรฐานการออกแบบอาคารสมัยใหม่ กันสักนิด ด้วยการบังคับใช้มาตรฐานนี้ทำให้ตึกที่สร้างตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550 เป็นต้นมา จะมีความเหนียว แทนความแข็งแกร่งอย่างที่ตึกเก่าเป็น ความแตกต่างของความเหนียวและความแข็งแกร่ง คือ

ตึกเก่า (ความแข็ง)

รับแรงแผ่นดินไหวได้น้อยกว่า ความแข็งแกร่งจะมาพร้อมกับความเปราะ เมื่อตัวตึกสะสมแรงแผ่นดินไหวไว้ภายในจนเกินขีดจำกัดจะส่งผลให้ตึกพังลงในทันทีโดยปราศจากสัญญาณเตือน

ตึกใหม่ (ความเหนียว)

ดูดซับแรงแผ่นดินไหวได้มากกว่า ตัวตึกสามารถโยก แอ่น และโก่งตัวได้ โดยจะสลายแรงแผ่นดินไหวไปเป็นแรงโยก รอยแตกร้าวเกิดขึ้นตามมาได้ โดยถือเป็นสัญญาณเตือนก่อนพังลง

จะเห็นได้ว่า รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหวไม่ได้แสดงถึงความแข็งแรงมากน้อยของตัวตึก แต่เป็นสัญญาณของความเสียหาย และแจ้งเตือนให้ผู้คนรีบอพยพออกจากพื้นที่เพื่อความปลอดภัยนั่นเอง 

ในกรณีที่เป็นตึกใหม่แต่ไม่มีรอยแตกร้าว อาจพิจารณาได้ว่า 1) ตัวตึกแข็งแรงมาก จนแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวไม่อาจสร้างความเสียหายได้ หรือ 2) การออกแบบตึกไม่ได้มาตรฐานความเหนียว ก็เป็นไปได้เช่นกัน 

เพื่อความปลอดภัยของทุกคน ควรปรึกษาวิศวกรโครงสร้างเพื่อทำการตรวจสอบก่อนเข้าใช้ตึกอาคาร โดยเฉพาะรอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหวที่เกิดบริเวณเสาหรือคาน

 

รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว อันตรายไหม

รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหวใช่ว่าจะอันตรายในทุกกรณี เพราะหากรอยแตกร้าว รวมถึงปัญหาฝ้าร่วง กระเบื้องหลุดล่อน ไม่เกิดขึ้นบริเวณโครงสร้าง ก็ถือว่าไม่อันตราย ไม่ผิดปกติ เนื่องจากวัสดุก่อสร้างเหล่านี้มักถูกออกแบบมาให้เคลื่อนไหวได้เพื่อลดแรงสั่นสะเทือนอยู่แล้ว 

แต่ในกรณีที่รอยแตกร้าวเกิดบริเวณโครงสร้าง โดยเฉพาะรอยแตกชัดเจนหรือขนาดใหญ่จนเห็นเหล็กเสริมภายใน จำเป็นต้องให้วิศวกรหรือผู้เชี่ยวชาญเข้ามาประเมินความเสียหายก่อนการซ่อมแซม

เบื้องต้น กรมโยธาธิการและผังเมืองพิจารณาความเสียหายขั้นต้นต่อตัวตึกอาคาร โดยแบ่งความรุนแรงออกเป็น 3 ระดับสี ได้แก่
 

ระดับสี   ระดับความรุนแรง ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น คำแนะนำการใช้ตึกอาคาร
สีเขียว (Green)

 ระดับที่ไม่เป็นอันตราย ไม่เสียหาย หรือเสียหายเล็กน้อย

  • รอยแตกร้าวขนาดเล็กที่ผิวโครงสร้าง 
  • โครงสร้างรองอาจได้รับความเสียหาย เช่น อิฐก่อ ฝ้าเพดาน หรือ ปูนฉาบ

ใช้งานอาคารได้ตามปกติ

สีเหลือง (Yellow)

 ระดับปานกลาง ควรซ่อมแซม และตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญก่อนเข้าใช้อาคาร

  • รอยแตกร้าวชัดเจน อาจมีเนื้อคอนกรีตฉีกขาด แตกหัก จนเห็นถึงบริเวณเหล็กเสริมจุดเล็ก ๆ
  • เสา คาน กำแพงคอนกรีตเสริมเหล็กได้รับความเสียหาย

ใช้งานอาคารได้แบบมีเงื่อนไข

(ใช้งานอาคารได้บางส่วนหรือทั้งหมด ควรระมัดระวังเศษวัสดุร่วงหล่น และอาคารควรได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดอีกครั้ง)

สีแดง (Red)

 ระดับอันตราย จำเป็นต้องตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญก่อนเข้าใช้อาคาร

  • รอยฉีกขาดรุนแรง เนื้อคอนกรีตแตกร้าวจนเห็นเหล็กเสริมแอ่น โก่ง หรือโค้งงอชัดเจน
  • โครงสร้างหลักได้รับความเสียหาย

ห้ามใช้งานอาคาร

(อาคารเสียหายอย่างหนัก อาจเสี่ยงต่อการพังถล่ม หรือสภาพอาคารอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต)

 

ระดับความเสียหายต่อตัวอาคารคอนกรีต

 

4 รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว ซ่อมได้หรือไม่

รอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหวแบ่งออกได้หลายประเภท ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เกิดและขนาดของรอยร้าว การรู้ว่าเป็นรอยแตกประเภทใดช่วยให้ได้รับการซ่อมแซมที่ตรงจุดมากขึ้น เพิ่มความปลอดภัยให้กับตึกอาคารหลังแผ่นดินไหวได้ดี ดังนี้

 

รอยแตกร้าวแผ่นดินไหว ซ่อม

 

1. รอยแตกร้าวลายงา (Hairline cracks)
รอยแตกเส้นบางเล็กกว่า 1 มิลลิเมตร บนผิวปูนฉาบ โดยทั่วไปไม่เป็นอันตรายต่อโครงสร้าง แต่ควรซ่อมแซมด้วยการฉาบปิดทับหรือทาสีใหม่ เพื่อป้องกันปัญหาในอนาคต

รอยแตกประเภทนี้ไม่น่ากังวลและซ่อมเองได้ด้วยผลิตภัณฑ์ดังนี้ :

2. รอยแตกร้าวแนวปูนฉาบ (Plaster cracks)
รอยแตกลึกกว่ารอยแตกลายงาเล็กน้อย ราว 3-10 มิลลิเมตร อยู่เฉพาะชั้นปูนฉาบ เกิดจากการสั่นสะเทือนอาจทำให้โครงสร้างเคลื่อนตัว ควรซ่อมแซมและสังเกตเพื่อเฝ้าระวังต่อไป

รอยแตกประเภทนี้ไม่น่ากังวลและซ่อมเองได้ด้วยผลิตภัณฑ์ดังนี้ :

  • วัสดุอุดโป๊ว Beger PU Seal / Beger Acrylic Sealant F-001
  • วัสดุฉาบตกแต่ง Beger 110 SKIM COAT Smooth / Beger Skim Coat 102 (พร้อมใช้)
  • ระบบสีรองพื้นและทับหน้า Beger

3. รอยแตกร้าวแนวเฉียงบนผนัง (Diagonal cracks)
รอยแตกแนวเฉียงมุม 30-45 องศาทั้งแนวตั้งและแนวนอน ความกว้างประมาณ 3-10 มิลลิเมตร บริเวณผนัง วงกบ มุมประตูหรือหน้าต่าง เกิดจากแรงเฉือนที่กระทำต่อโครงสร้าง ควรรีบตรวจสอบและแก้ไข เนื่องจากอันตรายปานกลางและโครงสร้างอาจมีปัญหา

รอยแตกประเภทนี้ควรเฝ้าระวัง บางกรณีอาจซ่อมเองได้ บางกรณีควรซ่อมโดยผู้เชี่ยวชาญ ด้วยผลิตภัณฑ์ดังนี้ :

  • วัสดุอุดโป๊ว Beger PU Seal / Beger Acrylic Sealant F-001
  • วัสดุฉาบตกแต่ง Beger 110 SKIM COAT Smooth / Beger Skim Coat 102 (พร้อมใช้)
  • ระบบสีรองพื้นและทับหน้า Beger

*กรณีร่องลึกเกิน 5-10 มิลลิเมตร แนะนำให้ใช้โฟมเส้น (Backing Rod) เสริมในชั้นแรก

4. รอยร้าวลึกถึงโครงสร้าง (Structural cracks)
รอยแตกกว้างเกิน 10 มิลลิเมตร ลึกจนเห็นเหล็กเสริม หรือแตกตลอดความหนาของผนัง เกิดจากการทรุดตัวของฐานราก ส่งผลต่อความมั่นคงแข็งแรง เนื่องจากมีความอันตรายระดับสูง ต้องเร่งออกจากพื้นที่ และดำเนินการตรวจสอบ แก้ไขโดยด่วนด้วยวิศวกรโครงสร้าง เพื่อความปลอดภัย 

รอยแตกประเภทนี้ไม่สามารถซ่อมเองได้ในทุกกรณี ผลิตภัณฑ์แก้ปัญหานี้ก็เช่น 

  • วัสดุซีเมนต์ซ่อม Beger Repair Mortar
  • วัสดุฉาบตกแต่ง Beger 110 SKIM COAT Smooth / Beger Skim Coat 102 (พร้อมใช้)
  • ระบบสีรองพื้นและทับหน้า Beger

 

ปกป้อง รอยแตกร้าวแผ่นดินไหว

 

นอกเหนือจากรอยแตกร้าวหลังแผ่นดินไหว แนะนำให้ตรวจสอบฝ้าเพดานและกระเบื้องอย่างละเอียดร่วมด้วย เพราะแม้สภาพภายนอกของตัววัสดุอาจดูปกติ แต่แท้จริงแล้วการมีการขยับตัว หลุดล่อน หรือพังเสียหายแล้วเพียงแต่อยู่ในจุดที่มองไม่เห็น ผู้ใช้อาคารจึงอาจเสี่ยงได้รับบาดเจ็บได้

หากตรวจพบ รอยร้าวแบบที่ 3 หรือ 4 รวมถึงรอยแตกที่เสาหรือคาน ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ และเร่งการอพยพ เพื่อความปลอดภัยของท่านเอง โดยอาจปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจากเบเยอร์ที่ Line: @BegerPaint หรือช่องทางการช่วยเหลือจากหน่วยงานของภาครัฐบาล เช่น Traffy Fondue (Line: @traffyfondue) หรือสายด่วนกรมโยธาธิการและผังเมืองที่เบอร์ 1531 

 

References:

SHARE :