ค้นหา

Tags

ปัญหาสีทาอาคาร (31)สีทาภายใน (27)เบเยอร์คูล (20)กิจกรรม (19) สีทาบ้านภายนอก (18)สิ่งแวดล้อม (13)ปัญหาบ้านหน้าฝน (11)รักษ์โลก (11)ไอเดียสี (11)begercool (10)สีทาเหล็ก (10)sustainability (9)โปรโมชั่น (9)ทาสีบ้าน (8)ทาสีบ้านใหม่ (8)ปัญหาสีซ่อมแซมตกแต่งพื้นผิว (8)รีโนเวทบ้านเก่า (8)สีทาบ้าน (8)ไอเดียแต่งบ้าน (8)สีงานไม้ (7)สีรองพื้น (7)โลกร้อน (7)ซ่อมบ้าน (6)ปัญหาสีงานไม้ (6)สีทาภายนอก (6)สีทาไม้ (6)สีย้อมไม้ (6)color trends (5)คาร์บอน (5)สีคาร์บอนต่ำ (5)สีทาหลังคา (5)สีบ้านเย็น (5)สีห้องนอน (5)อุดโป๊ว (5)เฉดสียอดนิยม (5)เชื้อรา (5)กันซึม (4)กันรั่ว (4)น้ำท่วม (4)สีทากันซึม (4)สีทาบ้านภายนอก (4)สีทาบ้านภายใน (4)สีน้ำมัน (4)สีรักษ์โลก (4)สีเบเยอร์ (4)หลังคา (4)ห้องครัว (4)ฮวงจุ้ย (4)ไอเดียแต่งห้อง (4) สีทาภายใน (3)AeroTech (3)BegerReWithYou (3)ความชื้น (3)ดูดวง (3)ตะไคร่น้ำ (3)ทาสีบ้านตามฮวงจุ้ย (3)ทาสีบ้านภายใน (3)ทาสีหน้าฝน (3)ผนังปูน (3)ยูรีเทน 2K (3)ยูรีเทนทาไม้ (3)รอยแตกร้าว (3)ฤกษ์มงคล (3)สีทากันซึมดาดฟ้าหลังคา (3)สีบ้านมงคล (3)สีสร้างลาย (3)สีห้องนั่งเล่น (3)สีอุตสาหกรรม (3)สีเหลือง (3)อาคารเขียว (3)เคมีภัณฑ์ก่อสร้าง (3)เฉดสีทาภายใน (3)Begerpaint (2)begerxppg (2)beyours (2)ceramic cooling (2)color of the year (2)griptech2in1 (2)nordic (2)tile-bond (2)work from home (2)กาวยาแนวกระเบื้อง (2)คราบสนิม (2)งานสถาปนิก (2)ซีลแลนท์ (2)ตรุษจีน (2)ทาสีบ้านเอง (2)ทาสีห้องนอน (2)บ้านลอฟท์ (2)บ้านสไตล์นอร์ดิก (2)ปลวก (2)ปัญหาคราบน้ำ (2)ผลิตภัณฑ์กำจักปลวก (2)ฟิลม์สีลอกล่อน (2)ร้านขายสีออนไลน์ (2)รีวิว (2)ลดหย่อนภาษี (2)สัญลักษณ์รักษ์โลก (2)สีทาเหล็ก 2 in 1 (2)สีทาเหล็กตระกูลเบเยอร์ (2)สีน้ำมันเคลือบเงาเหล็ก (2)สีนำโชค (2)สีผสม (2)สีมงคล (2)สีรองพื้นปูนเก่า (2)สีลอฟท์ (2)สีส้ม (2)สีห้องนอนตามวันเกิด (2)สีเย็น (2)สีแดง (2)อุดรอยรั่วทั่วทั้งบ้าน (2)เซรามิกคูลลิ่ง (2)เทรนด์สี 2022 (2)แต่งห้องนอน (2)แอโรเทค (2)โรคหน้าฝน (2) สีทาไม้ (1) เชื้อรา (1)2in1 (1)60-30-10 (1)activity (1)art effect (1)bangkok design week (1)Bangpo wood street (1)Beger AI (1)beger plug-in color library (1)Beger Polyurethane 2K (1)beger-hdc (1)begerclub (1)begercoin (1)carbon (1)carbonfootprint (1)color design (1)color trends 2022 (1)easy e-receipt (1)EPD (1)facebook (1)Gold Ion (1)Green Building (1)Heat index (1)lgbtq (1)Low VOC (1)Natural (1)ozone (1)pride month (1)renovate (1)review (1)sealant (1)super gold (1)super pearl (1)super white (1)VOCs (1)y2k (1)กลิ่นอับ (1)กันซึมดาดฟ้า (1)กันร้อน (1)การนอนหลับ (1)กาวซีเมนต์ (1)กาวพียู (1)กาวยาแนว (1)กำจัดปลวก (1)กิจกรรมวันแม่ (1)คราบสนิมบนพื้นผิวโลหะ (1)คราบเกลือ (1)ความหมายสี (1)คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (1)คำนวณงบสีทาบ (1)คำนวนสีทาบ้าน (1)งบทาสีบ้าน (1)งานสถาปนิก66 (1)งานไม้แนวตั้ง (1)จิตใจ (1)จีน (1)ด่างปูน (1)ดาดฟ้ารั่ว (1)ดาวน์โหลดสีเบเยอร์ (1)ทาสีบ้านภายนอก (1)ทาสีฝ้า (1)ทาสีเหล็ก (1)ทาสีโครงหลังคา (1)ทาห้องสีชมพู (1)ทินเนอร์ (1)ธงสีรุ้ง (1)ธาตุเกิด (1)ธาตุไฟ (1)นวัตกรรมสีทาบ้าน (1)นอนไม่หลับ (1)นอร์ดิก (1)นัว (1)น้ำปูนลอยหน้า (1)บางโพ (1)บ้านสีขาว (1)บ้านสีควันบุหรี่ (1)บ้านสีดำ (1)บ้านอับชื้น (1)บาร์บี้ (1)ป้องกันคราบสนิม (1)ปัญหา (1)ปัญหางานไม้ (1)ปัญหาบ้านฝนตก (1)ปัญหาสีทองคำ (1)ปัญหาสีหน้าฝน (1)ปีชง (1)ปูนกาวเบเยอร์ (1)ผนังไม้ (1)ผิวปูนแห้ง (1)ผู้นำสีทาบ้าน (1)ฝาท่อเยาวราช (1)พลังสี (1)พาสเทล (1)พื้นเหนียว (1)พื้นไม้รอบสระน้ำ (1)ฟิล์มสีติดกัน (1)ฟิล์มสีบวมพอง (1)ฟิล์มสีเป็นเม็ด (1)ฟิล์มสีไม่ยึดเกาะ (1)ฟิล์มแตกเร็ว (1)ภาษีคาร์บอน (1)มูจิ (1)มูเตลู (1)ยางไม้ซึม (1)ยาแนว (1)ยูนีเทน (1)ยูนีเทน 2K (1)ยูรีเทน 1K (1)รหัสสีเบเยอร์ (1)รองพื้นกันสนิม (1)ร้อนอบอ้าว (1)รอยแตก (1)รอยแตกร้าวเพดาน (1)ระบบกันซึมบ้าน (1)รักษโลก (1)รักโลก (1)รับเหมาทาสี (1)รั้วเหล็ก (1)รางวัล (1)ร้านขายสีรองพื้นกันสนิม ใกล้ฉัน (1)รูตะปู (1)วอลเปเปอร์ (1)วันสืบนาคะเสถียร (1)วาเลนไทน์ (1)วิธีซ่อมผิวปูนหลุด (1)วิธีดูแลบ้านหน้าฝน (1)วิธีแก้กลิ่นอับ (1)สดใส (1)สายมู (1)สี 2 in 1 (1)สีmbti (1)สีกันซึม (1)สีขายดี (1)สีขาวควันบุหรี่ (1)สีคุณภาพ (1)สีตกแต่งพิเศษ (1)สีต่าง (1)สีถูกโฉลก (1)สีทองคำ (1)สีทองคำด (1)สีทองคำลอกล่อน (1)สีทาบ้านกันร้อน (1)สีทาบ้านที่ขาวที่สุด (1)สีทาบ้านหมดอายุ (1)สีทาภายนอกสะท้อนความร้อน (1)สีทาหลังคากันร้อน (1)สีทาหลังคาอเนกประสงค์ (1)สีทาอาคาร (1)สีทาเคลือบพื้นไม้ (1)สีทาโครงหลังคา (1)สีทาไฟเบอร์ซีเมนต์ (1)สีทาไม้สีขาว (1)สีทาไม้เทียม (1)สีธรรมชาติ (1)สีน้ำเงิน (1)สีบ้านถูกโฉลก (1)สีบ้านสไตล์นอร์ดิก (1)สีบ้านโทนเย็น (1)สีฝุ่นชอล์ก (1)สีพาสเทล (1)สีฟ้า (1)สียอดนิยม (1)สีรองพื้นกันสนิม Beger (1)สีรองพื้นปูนอเนกประสงค์ (1)สีรองพื้นปูนใหม่ (1)สีลอกล่อน (1)สีวันแม่ (1)สีสงกรานต์ (1)สีสด (1)สีสร้างสมาธิ (1)สีสำหรับ BIM (1)สีสำหรับ Revit (1)สีหมดอายุ (1)สีห้อง (1)สีห้องนอนโทนร้อน (1)สีห้องนอนโทนเย็น (1)สีห้องยอดนิยม (1)สีห้องวัยรุ่น (1)สีห้องเด็ก (1)สีห้องโทนเย็น (1)สีเข้ม (1)สีเคลือบเงาเหล็ก (1)สีเคลือบไม้ยูรีเทน (1)สีเบส (1)สีเบอร์ (1)สีเบเยอร์คูล (1)สีเป็นผง (1)สีเป็นฝุ่น (1)สีแห่งปี (1)สีโทนเย็น (1)สีโป๊ว (1)สเปรย์น้ำมันอเนกประสงค์ (1)สเปรย์หล่อลื่น (1)หน้าฝน (1)หลับยาก (1)หวานๆ (1)ห้องกว้าง (1)ห้องทำงาน (1)ห้องนอน (1)ห้องนอนลอฟท์ (1)ห้องนั่งเล่น (1)ห้องสีขาว (1)ห้องสีควันบุหรี่ (1)ห้องสีชมพู (1)ห้องสีชมพูพาสเทล (1)ห้องสีแดง (1)ห้องใต้หลังคา (1)หินอ่อน (1)อารมณ์ (1)อีซี่คลีนแอนด์แคร์ (1)ฮาโลวีน (1)เจอคูลบอกที (1)เชื้อราบนไม้ (1)เต่าคูล (1)เทคนิคทาสี (1)เบเยอร์ ซูพรีม (1)เบเยอร์ วัน (1)เบเยอร์ชิลด์ (1)เฟอร์ไม้ฉ่ำรับสงกรานต์ (1)เย็นจริงทนจังในถังเดียว (1)เย็นเถิดชาวไทย (1)เย็นเถิดชาวไทยใช้สีเบเยอร์คูล (1)เหนียว (1)เหม็นอับ (1)เหล็กกัลวาไนซ์ (1)แก้ชง (1)แก้ปัญหาน้ำรั่วซึม (1)แต่งห้อง (1)แต่งห้องนั่งเล่น (1)แถม (1)แม่และเด็ก (1)แลคเกอร์ (1)แสง (1)โกลด์ ไอออน (1)โควิด (1)โชคลาภ (1)โถงทางเดิน (1)โทนเย็น (1)โปรแกรมคำนวณคาร์บอน (1)โปรโมชั่นสีทาบ้าน (1)โลกเดือด (1)โหราศาสตร์ (1)โอ๊ต ปราโมทย์ (1)โอโซน (1)ไทล์บอนด์ (1)ไม้สน (1)ไม้เนื้ออ่อน (1)

ไขข้อสงสัยทำไมต้องช่วยกันลดคาร์บอน สาเหตุ ผลกระทบที่คาดไม่ถึง

คาร์บอน คำฮิตช่วงนี้ที่เราได้ยินกันบ่อยสุด ๆ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) หนึ่งในก๊าซเรือนกระจกสาเหตุหลักที่ทำให้โลกเดือดปุ๊ด ๆ ซึ่งตอนนี้ถ้าเรายังปล่อยให้มันพิ่มสูงขึ้นไม่หยุด มันจะลามมาเดือด(ร้อน)กับชีวิตเรามากขึ้น ในระดับที่บางอย่างที่คิดว่ามีแต่ในหนัง เช่น น้ำท่วมโลก ผู้คนล้มตาย ไร้ที่อยู่ อาจจะกลายมาเป็นความจริงได้เลย เอาเป็นว่าแค่นี้คุณก็ได้รับผลกระทบจากมันอย่างไม่รู้ตัวแล้วครับ

 

อะไรบ้างที่ทำให้เกิดคาร์บอน

ย้อนกลับไปในชั่วโมงเรียนวิทยาศาสตร์ คูณครูเคยสอนว่า คาร์บอนไดออกไซด์ คือก๊าซที่เกิดจากการหายใจของสิ่งมีชีวิต (คนและสัตว์) แต่นั่นคิดเป็นแค่ไม่ถึง 1 ใน 10 ของปริมาณก๊าซที่ปล่อยออกมา แล้วแบบนี้สาเหตุที่ทำให้เกิดคาร์บอนส่วนใหญ่มันมาจากไหน?

สาเหตุที่ทำให้เกิดคาร์บอน

 

คำตอบนี้คุณน่าจะรู้กันอยู่แล้ว ใช่ครับ สาเหตุที่ทำให้เกิดคาร์บอนล้นโลกคือ ฝีมือมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น การผลิตพลังงานเชื้อเพลิงต่าง ๆ เช่น ก๊าซ น้ำมัน ไฟฟ้า รวมถึงการผลิตอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของการเพิ่มปริมาณก๊าซอันดับ 1 รวมไปถึงพฤติกรรมอื่น ๆ ที่ของตัวเราก็เป็นอีกส่วนของการผลิตคาร์บอนอย่างไม่รู้ตัว เช่น การขับรถ หรือการทำอาหาร เป็นต้น

 

ผลเสียจากคาร์บอน ต่อโลก ต่อตัวคุณ

คาร์บอน ส่งผลไรกับโลกบ้าง?

1. โลกร้อนขึ้น อุณหภูมิเพิ่มมากขึ้น

นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่า อุณหภูมิโลกอาจจะเพิ่มขึ้นอีก 1.5 องศาเซลเซียสในปี 2027 ซึ่งตัวเลขนี้อาจจะดูน้อยสำหรับตัวเรา แต่สำหรับสิ่งแวดล้อมมันคือหายนะ เพราะว่า แค่ 1 องศาฯ ที่เพิ่มมาทำให้น้ำแข็งขั้วโลกละลาย น้ำทะเลสูงขึ้น และมันยังทำให้ปะการัง พืช หรือสัตว์บางชนิดสูญพันธุ์ได้เลย

2. เกิดภัยพิบัติบ่อยและ รุนแรงมากขึ้น

ฤดูกาลแปรปรวนอย่างแรง เห็นได้จากในช่วงปีที่ผ่านมา ปัญหาพายุ น้ำท่วม หรือภัยแล้ง ที่หนักหน่วง

impact of carbon to city

 

คาร์บอน ส่งผลอะไรกับคุณบ้าง?

1. เจ็บป่วยบ่อย เสี่ยงเป็นโรคต่าง ๆ ง่ายกว่าเดิม

ต่อให้เราดูแลสุขภาพดีแค่ไหน แต่คาร์บอนไดออกไซด์ ก็สามารถทำลายตัวเราได้ เพราะมันถือว่าเป็นตัวกระตุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ทำให้เราป่วยง่าย ป่วยบ่อยมากกว่าเดิม โดยเฉพาะอยู่ในพื้นที่ที่ก๊าซคาร์บอนจับตัวกับอนุภาคต่างๆและกลายมาเป็นมลพิษทางอากาศ (PM) เช่น ในเขตเมืองที่อากาศไม่ถ่ายเท หรือเขตโรงงาน นั่นเอง

  • โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคหอบหืด โรคปอด หรือโรคหลอดลมอักเสบ 
  • ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ
  • มะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งผิวหนัง มะเร็งปอด
  • โรคภูมิแพ้
  • โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
  • โรคฮีทสโตรก และอื่นๆ

ผลกระทบต่อสุขภาพ จากคาร์บอน

 

2. ค่าครองชีพสูงขึ้น

แม้ว่ามันจะไม่ใช่ผลกระทบโดยตรง แต่ถ้าสืบสาวกลับไป จะเห็นว่าคาร์บอนมันมีส่วนเพิ่มค่าใช้จ่ายหลาย ๆ อย่างให้เราแบบที่ไม่รู้ตัว เช่น

  • ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่ขึ้น อย่างที่กล่าวไปในข้อ 1 พอเราป่วยบ่อย ค่าใช้จ่ายในส่วนการรักษาก็เพิ่มตามมา
  • ค่าสินค้าบริโภคและอุปโภคแพงขึ้น มันเป็นผลที่เกิดจากความแปรปรวนของฤดูกาล พืชผลทางการเกษตรลดลง สวนทางกับความต้องการที่มากขึ้น เลยทำให้มีราคาสูงขึ้นนั่นเอง
  • ค่าไฟที่สูงขึ้น เนื่องจากโลกร้อนจากคาร์บอน ทำให้อากาศก็ร้อนขึ้น เราเลยต้องเปิดเครื่องปรับอากาศบ่อยขึ้นและมันก็กินไฟมากขึ้น

 

ลดคาร์บอนยังไงดี

การลดคาร์บอน พูดง่าย ๆ มันก็คือการลดโลกร้อนนั่นแหละครับ เพียงแค่ว่าในปัจจุบันมี ทางเลือก ให้เราร่วมแรงร่วมใจกันมากขึ้น ซึ่งวันนี้ผมมีวิธีการที่คิดว่าสามารถทำง่าย ๆ และบางวิธีอาจจะคิดไม่ถึงมาฝากกัน

  • ปลูกต้นไม้
  • แยกขยะ เพื่อที่จะได้นำไป รีไซเคิล (Recycle) หรือบางอย่างเราไม่จำเป็นต้องทิ้งเพราะสามารถนำกลับไปใช้ใหม่ได้ (Reuse)
  • ลดการใช้ถุงพลาสติก ใช้ถุงผ้าแทนดีกว่านะ
  • ปิดไฟ ถอดปลั๊ก เมื่อไม่ใช้ ช่วยประหยัดไฟขึ้นอีกนิด จะได้ไม่ต้องผลิตมากขึ้น (การผลิตไฟฟ้าทำให้เกิดคาร์บอนหนักมาก)
  • ติดโซลาร์เซลล์
  • เลือกใช้สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  • เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 
  • การทาสี

สำหรับการทาสี มันช่วยลดคาร์บอนได้อย่างไร?

 ไม่ใช่สีทาบ้านทุกรุ่น จะสามารถช่วยลดคาร์บอนได้ แต่จะต้องเป็นสีที่ผ่านกระบวนการตรวจสอบจากสถาบันด้านสิ่งแวดล้อมว่า เช่น สีเบเยอร์คูล ที่ได้รับฉลากลดโลกร้อน หรือที่เรียกว่าฉลากลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์ สถาบันบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกประเทศไทยนั่นเอง ดังนั้นคุณจึงมั่นใจได้ว่า เมื่อคุณจะทาสีบ้าน แล้วเลือกใช้สีเบเยอร์คูล ไดมอนด์ชิลด์ 15 ก็จะถือว่าคุณช่วยลดคาร์บอน ได้จริงๆ

 

จากทั้งหมดที่เล่ามา คาดว่าภาพความน่ากลัว คาร์บอน น่าจะชัดเจนขึ้น เข้าใจครับว่าข้อเสียบางอย่างมันอาจจะดูไกลตัวมาก ๆ แต่บางอย่างไม่ต้องรอให้ถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน คุณก็อาจจะกำลังเผชิญอยู่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องปัญหาด้านสุขภาพ หรือเรื่องค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ด้วยเหตุนี้ผมเลยอยากจะชวนเพื่อน ๆ ลองเปลี่ยน Mind Set ไม่ต้องคิดว่าเราลดเพื่อโลกอันกว้างใหญ่ แต่ให้คิดว่าเราลดคาร์บอนเพื่อตัวเราเอง อาจจะลองทำสัก 1 - 2 อย่างช่วยกันทีละนิดทีละหน่อย มันสามารถก่อให้เกิดเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ได้จริง ๆ

SHARE :