ค้นหา

Tags

ปัญหาสีทาอาคาร (31)สีทาภายใน (27)เบเยอร์คูล (20)กิจกรรม (19) สีทาบ้านภายนอก (18)สิ่งแวดล้อม (13)ปัญหาบ้านหน้าฝน (11)รักษ์โลก (11)ไอเดียสี (11)begercool (10)สีทาเหล็ก (10)sustainability (9)โปรโมชั่น (9)ทาสีบ้าน (8)ทาสีบ้านใหม่ (8)ปัญหาสีซ่อมแซมตกแต่งพื้นผิว (8)รีโนเวทบ้านเก่า (8)สีทาบ้าน (8)ไอเดียแต่งบ้าน (8)สีงานไม้ (7)สีรองพื้น (7)โลกร้อน (7)ซ่อมบ้าน (6)ปัญหาสีงานไม้ (6)สีทาภายนอก (6)สีทาไม้ (6)สีย้อมไม้ (6)color trends (5)คาร์บอน (5)สีคาร์บอนต่ำ (5)สีทาหลังคา (5)สีบ้านเย็น (5)สีห้องนอน (5)อุดโป๊ว (5)เฉดสียอดนิยม (5)เชื้อรา (5)กันซึม (4)กันรั่ว (4)น้ำท่วม (4)สีทากันซึม (4)สีทาบ้านภายนอก (4)สีทาบ้านภายใน (4)สีน้ำมัน (4)สีรักษ์โลก (4)สีเบเยอร์ (4)หลังคา (4)ห้องครัว (4)ฮวงจุ้ย (4)ไอเดียแต่งห้อง (4) สีทาภายใน (3)AeroTech (3)BegerReWithYou (3)ความชื้น (3)ดูดวง (3)ตะไคร่น้ำ (3)ทาสีบ้านตามฮวงจุ้ย (3)ทาสีบ้านภายใน (3)ทาสีหน้าฝน (3)ผนังปูน (3)ยูรีเทน 2K (3)ยูรีเทนทาไม้ (3)รอยแตกร้าว (3)ฤกษ์มงคล (3)สีทากันซึมดาดฟ้าหลังคา (3)สีบ้านมงคล (3)สีสร้างลาย (3)สีห้องนั่งเล่น (3)สีอุตสาหกรรม (3)สีเหลือง (3)อาคารเขียว (3)เคมีภัณฑ์ก่อสร้าง (3)เฉดสีทาภายใน (3)Begerpaint (2)begerxppg (2)beyours (2)ceramic cooling (2)color of the year (2)griptech2in1 (2)nordic (2)tile-bond (2)work from home (2)กาวยาแนวกระเบื้อง (2)คราบสนิม (2)งานสถาปนิก (2)ซีลแลนท์ (2)ตรุษจีน (2)ทาสีบ้านเอง (2)ทาสีห้องนอน (2)บ้านลอฟท์ (2)บ้านสไตล์นอร์ดิก (2)ปลวก (2)ปัญหาคราบน้ำ (2)ผลิตภัณฑ์กำจักปลวก (2)ฟิลม์สีลอกล่อน (2)ร้านขายสีออนไลน์ (2)รีวิว (2)ลดหย่อนภาษี (2)สัญลักษณ์รักษ์โลก (2)สีทาเหล็ก 2 in 1 (2)สีทาเหล็กตระกูลเบเยอร์ (2)สีน้ำมันเคลือบเงาเหล็ก (2)สีนำโชค (2)สีผสม (2)สีมงคล (2)สีรองพื้นปูนเก่า (2)สีลอฟท์ (2)สีส้ม (2)สีห้องนอนตามวันเกิด (2)สีเย็น (2)สีแดง (2)อุดรอยรั่วทั่วทั้งบ้าน (2)เซรามิกคูลลิ่ง (2)เทรนด์สี 2022 (2)แต่งห้องนอน (2)แอโรเทค (2)โรคหน้าฝน (2) สีทาไม้ (1) เชื้อรา (1)2in1 (1)60-30-10 (1)activity (1)art effect (1)bangkok design week (1)Bangpo wood street (1)Beger AI (1)beger plug-in color library (1)Beger Polyurethane 2K (1)beger-hdc (1)begerclub (1)begercoin (1)carbon (1)carbonfootprint (1)color design (1)color trends 2022 (1)easy e-receipt (1)EPD (1)facebook (1)Gold Ion (1)Green Building (1)Heat index (1)lgbtq (1)Low VOC (1)Natural (1)ozone (1)pride month (1)renovate (1)review (1)sealant (1)super gold (1)super pearl (1)super white (1)VOCs (1)y2k (1)กลิ่นอับ (1)กันซึมดาดฟ้า (1)กันร้อน (1)การนอนหลับ (1)กาวซีเมนต์ (1)กาวพียู (1)กาวยาแนว (1)กำจัดปลวก (1)กิจกรรมวันแม่ (1)คราบสนิมบนพื้นผิวโลหะ (1)คราบเกลือ (1)ความหมายสี (1)คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (1)คำนวณงบสีทาบ (1)คำนวนสีทาบ้าน (1)งบทาสีบ้าน (1)งานสถาปนิก66 (1)งานไม้แนวตั้ง (1)จิตใจ (1)จีน (1)ด่างปูน (1)ดาดฟ้ารั่ว (1)ดาวน์โหลดสีเบเยอร์ (1)ทาสีบ้านภายนอก (1)ทาสีฝ้า (1)ทาสีเหล็ก (1)ทาสีโครงหลังคา (1)ทาห้องสีชมพู (1)ทินเนอร์ (1)ธงสีรุ้ง (1)ธาตุเกิด (1)ธาตุไฟ (1)นวัตกรรมสีทาบ้าน (1)นอนไม่หลับ (1)นอร์ดิก (1)นัว (1)น้ำปูนลอยหน้า (1)บางโพ (1)บ้านสีขาว (1)บ้านสีควันบุหรี่ (1)บ้านสีดำ (1)บ้านอับชื้น (1)บาร์บี้ (1)ป้องกันคราบสนิม (1)ปัญหา (1)ปัญหางานไม้ (1)ปัญหาบ้านฝนตก (1)ปัญหาสีทองคำ (1)ปัญหาสีหน้าฝน (1)ปีชง (1)ปูนกาวเบเยอร์ (1)ผนังไม้ (1)ผิวปูนแห้ง (1)ผู้นำสีทาบ้าน (1)ฝาท่อเยาวราช (1)พลังสี (1)พาสเทล (1)พื้นเหนียว (1)พื้นไม้รอบสระน้ำ (1)ฟิล์มสีติดกัน (1)ฟิล์มสีบวมพอง (1)ฟิล์มสีเป็นเม็ด (1)ฟิล์มสีไม่ยึดเกาะ (1)ฟิล์มแตกเร็ว (1)ภาษีคาร์บอน (1)มูจิ (1)มูเตลู (1)ยางไม้ซึม (1)ยาแนว (1)ยูนีเทน (1)ยูนีเทน 2K (1)ยูรีเทน 1K (1)รหัสสีเบเยอร์ (1)รองพื้นกันสนิม (1)ร้อนอบอ้าว (1)รอยแตก (1)รอยแตกร้าวเพดาน (1)ระบบกันซึมบ้าน (1)รักษโลก (1)รักโลก (1)รับเหมาทาสี (1)รั้วเหล็ก (1)รางวัล (1)ร้านขายสีรองพื้นกันสนิม ใกล้ฉัน (1)รูตะปู (1)วอลเปเปอร์ (1)วันสืบนาคะเสถียร (1)วาเลนไทน์ (1)วิธีซ่อมผิวปูนหลุด (1)วิธีดูแลบ้านหน้าฝน (1)วิธีแก้กลิ่นอับ (1)สดใส (1)สายมู (1)สี 2 in 1 (1)สีmbti (1)สีกันซึม (1)สีขายดี (1)สีขาวควันบุหรี่ (1)สีคุณภาพ (1)สีตกแต่งพิเศษ (1)สีต่าง (1)สีถูกโฉลก (1)สีทองคำ (1)สีทองคำด (1)สีทองคำลอกล่อน (1)สีทาบ้านกันร้อน (1)สีทาบ้านที่ขาวที่สุด (1)สีทาบ้านหมดอายุ (1)สีทาภายนอกสะท้อนความร้อน (1)สีทาหลังคากันร้อน (1)สีทาหลังคาอเนกประสงค์ (1)สีทาอาคาร (1)สีทาเคลือบพื้นไม้ (1)สีทาโครงหลังคา (1)สีทาไฟเบอร์ซีเมนต์ (1)สีทาไม้สีขาว (1)สีทาไม้เทียม (1)สีธรรมชาติ (1)สีน้ำเงิน (1)สีบ้านถูกโฉลก (1)สีบ้านสไตล์นอร์ดิก (1)สีบ้านโทนเย็น (1)สีฝุ่นชอล์ก (1)สีพาสเทล (1)สีฟ้า (1)สียอดนิยม (1)สีรองพื้นกันสนิม Beger (1)สีรองพื้นปูนอเนกประสงค์ (1)สีรองพื้นปูนใหม่ (1)สีลอกล่อน (1)สีวันแม่ (1)สีสงกรานต์ (1)สีสด (1)สีสร้างสมาธิ (1)สีสำหรับ BIM (1)สีสำหรับ Revit (1)สีหมดอายุ (1)สีห้อง (1)สีห้องนอนโทนร้อน (1)สีห้องนอนโทนเย็น (1)สีห้องยอดนิยม (1)สีห้องวัยรุ่น (1)สีห้องเด็ก (1)สีห้องโทนเย็น (1)สีเข้ม (1)สีเคลือบเงาเหล็ก (1)สีเคลือบไม้ยูรีเทน (1)สีเบส (1)สีเบอร์ (1)สีเบเยอร์คูล (1)สีเป็นผง (1)สีเป็นฝุ่น (1)สีแห่งปี (1)สีโทนเย็น (1)สีโป๊ว (1)สเปรย์น้ำมันอเนกประสงค์ (1)สเปรย์หล่อลื่น (1)หน้าฝน (1)หลับยาก (1)หวานๆ (1)ห้องกว้าง (1)ห้องทำงาน (1)ห้องนอน (1)ห้องนอนลอฟท์ (1)ห้องนั่งเล่น (1)ห้องสีขาว (1)ห้องสีควันบุหรี่ (1)ห้องสีชมพู (1)ห้องสีชมพูพาสเทล (1)ห้องสีแดง (1)ห้องใต้หลังคา (1)หินอ่อน (1)อารมณ์ (1)อีซี่คลีนแอนด์แคร์ (1)ฮาโลวีน (1)เจอคูลบอกที (1)เชื้อราบนไม้ (1)เต่าคูล (1)เทคนิคทาสี (1)เบเยอร์ ซูพรีม (1)เบเยอร์ วัน (1)เบเยอร์ชิลด์ (1)เฟอร์ไม้ฉ่ำรับสงกรานต์ (1)เย็นจริงทนจังในถังเดียว (1)เย็นเถิดชาวไทย (1)เย็นเถิดชาวไทยใช้สีเบเยอร์คูล (1)เหนียว (1)เหม็นอับ (1)เหล็กกัลวาไนซ์ (1)แก้ชง (1)แก้ปัญหาน้ำรั่วซึม (1)แต่งห้อง (1)แต่งห้องนั่งเล่น (1)แถม (1)แม่และเด็ก (1)แลคเกอร์ (1)แสง (1)โกลด์ ไอออน (1)โควิด (1)โชคลาภ (1)โถงทางเดิน (1)โทนเย็น (1)โปรแกรมคำนวณคาร์บอน (1)โปรโมชั่นสีทาบ้าน (1)โลกเดือด (1)โหราศาสตร์ (1)โอ๊ต ปราโมทย์ (1)โอโซน (1)ไทล์บอนด์ (1)ไม้สน (1)ไม้เนื้ออ่อน (1)

เช็กให้ดี สีทาบ้านมีวันหมดอายุหรือไม่ ดูยังไง

สีทาบ้านหมดอายุได้หรือไม่

 

สีทาบ้านหมดอายุได้หรือเปล่า? หนึ่งในคำถามที่ถูกถามเข้ามาเป็นประจำ เพราะบางคนอาจซื้อมาแล้วใช้ไม่หมด เหลือสีเป็นถังๆ จะทิ้งก็รู้สึกเสียดาย จะขายก็ไม่รู้ร้านจะรับซื้อไหม วันนี้เบเยอร์เลยถือโอกาสชวนผู้เชี่ยวชาญสีมาตอบข้อสงสัยให้กระจ่างชัดกันครับ 

 

สีทาบ้านมีวันหมดอายุไหม?

มีครับ  สีทาบ้านมีวันหมดอายุ แต่วันหมดอายุของสีจะไม่มีเขียนติดไว้ที่บรรจุภัณฑ์ จะมีแต่วันผลิตเท่านั้น ซึ่งการที่สีหมดอายุ เราจะเน้นดูที่การเสื่อมคุณสภาพของเนื้อสีเป็นหลัก ที่สำคัญนอกจากสีสูตรน้ำแล้ว สีน้ำมัน สีรองพื้น ก็มีวันหมดอายุเช่นกัน

 

จะรู้ได้อย่างไรว่าสีหมดอายุ?

หลักการง่ายๆ ในการดูว่าสีที่คุณซื้อมายังโอเคอยู่ไหม หมดอายุแล้วหรือยัง นั่นก็คือ การดูวันผลิต และสังเกตลักษณะความผิดปกติเนื้อสี

ดูวันเดือนปีที่ผลิต

โดยปกติสีทาบ้าน ทั้งสีน้ำ สีน้ำมัน สีทาภายนอกและสีทาภายใน จะมีอายุมากกว่าสิบปีหลังจากผลิต ขึ้นอยู่กับการเก็บรักษาที่เหมาะสม ซึ่งควรเก็บในที่ร่ม แห้ง ไม่โดนแดด หรือความร้อนเป็นเวลานาน และที่สำคัญถังสีนั้นจะต้องไม่รั่วหรือเสียหาย

 

ดูวันหมดอายุสีทาบ้าน

 

ดังนั้นตามหลัก ถ้าสีถูกผลิตมาไม่เกิน 10 ปีสีถังนั้นจะยังไม่หมดอายุ ทั้งนี้ก็ควรดูเรื่องลักษณะเนื้อสีที่ผิดปกติ ที่กำลังจะพูดในหัวข้อถัดไปประกอบด้วย

Tips : ใครที่หาวันผลิตไม่เจอก็ไม่ต้องตกใจ เพราะวิธีการดูวันเดือนปีที่ผลิต ให้สังเกตจาก ตัวเลข 6 หลักแรกของเลข Lot หรือ Batch no. ที่แถบบาร์โค้ด ส่วนมากจะอยู่บนสติกเกอร์ข้างถัง ซึ่งวันผลิตจะเรียงตาม  ปี-เดือน-วัน อย่างละ 2 หลัก เช่น จากในภาพ สีเบเยอร์วันถังนี้ ผลิตวันที่ 31 สิงหาคม 2020 (20-08-31) นั่นเอง และหากเราทำเลข Lot เลือนหาย หรือสติกเกอร์ลอกหลุดไป ก็สามารถเช็กวันผลิตได้จาก ร้านค้าที่ซื้อสีมาก็ได้เช่นกันครับ

 

สังเกตความผิดปกติของสี

แม้ว่าสีถังนั้นจะผลิตมาไม่เกิน 10 ปี ถ้าลักษณะเนื้อสีในถังของคุณมีความผิดปกติดังต่อไปนี้ ให้รู้เลยว่า สีของคุณหมดอายุ เสื่อมสภาพ ไม่พร้อมจะนำไปใช้งานแล้ว

  • สีแห้งติดถัง
  • สีนอนก้นจับเป็นก้อน หรือเหลวเป็นเจล
  • สีแยกชั้นชัดเจน แม้จะคนแล้วก็ไม่เข้ากัน
  • กลิ่นแรงกว่าปกติ โดยเฉพาะสีสูตรน้ำ

วิธีสังเกตสีหมดอายุ ดูจากเนื้อสี

 

ใช้สีไม่หมด สีเหลือ ควรเก็บอย่างไร มีอายุเท่าไหร่ 

สีทาบ้านสูตรน้ำอะคริลิก หรือสีรองพื้นสูตรน้ำ

  • กรณีเปิดฝามาแล้ว แต่ยังไม่ได้ทำอะไรเลย (อาจจะแค่เปิดมาดูเฉดสี) ไม่ได้ผสมน้ำ ให้ปิดฝาให้สนิทและเก็บให้เหมาะสม หลีกเลี่ยงบริเวณร้อนจัด หรือมีความชื้น โดยสีจะมีอายุเกือบเท่าเดิมคือประมาณ 10 ปี
  • กรณีเปิดฝามาแล้ว และได้คนเนื้อสี เทสี หรือกวนสีแล้ว ให้ปิดฝาให้สนิทเช่นเดียวกัน ในที่ๆ เหมาะสมเช่นเดียวกัน โดยสีจะมีอายุลดลงเหลือประมาณ 1 เดือน
  • กรณีเปิดฝามาแล้ว ผสมน้ำเรียบร้อยแล้ว ถ้าปิดฝาแน่น และเก็บดีๆ อายุของสีจะอยู่ที่ประมาณ 1 สัปดาห์ 

สีน้ำมัน

  • การเก็บรักษาสีน้ำมันที่ใช้เหลือจะคล้ายๆ กับสีสูตรน้ำเลย เพียงปิดฝาให้สนิทอายุของสีก็แทบจะไม่ลดลงเลย แม้ว่าจะผสมทินเนอร์มาแล้วก็ตาม แต่จุดที่แตกต่างกันคือ เมื่อจะนำกลับมาใช้อีกครั้งอาจจะพบว่าผิวของสีจะเป็นแผ่น หรือเกิดการแยกชั้น ให้ทำการลอกแผ่นนั้นออกและคนส่วนผสมให้เข้ากัน   

ปรึกษาปัญหาสีทาบ้าน

สรุป

สีทาบ้านแม้จะมีวันหมดอายุ แต่ถ้าเก็บรักษาให้ถูกต้องเหมาะสมตามวิธีที่แนะนำไป สีที่คุณซื้อมาก็จะยังคงเก็บไว้ใช้งานได้อีกนาน แต่ก่อนใช้งานควรตรวจสอบความผิดปกติของสีก่อนเสมอ เพราะถ้าเอาสีที่หมดอายุไปใช้ อาจจะทำให้เกิดปัญหาตามมาได้มากมาย ทางที่ดีผู้เชี่ยวชาญเรื่องสีแนะนำว่าควรคำนวณปริมาณสีที่ใช้ให้พอดี และควรใช้ให้หมดในวันเดียวกันจะดีที่สุดครับ

 

ปรึกษาสีทาบ้านฟรี

SHARE :